
กลุ่มที่ 1 นำเสนอเรื่อง จำนวนและการดำเนินการ
=>เราสอนเด็กในเรื่องของการนับเลข การเปรียบเทียบ การจำแนกสิ่งของต่างๆ
=>เราสอนเด็กในเรื่องของการนับเลข การเปรียบเทียบ การจำแนกสิ่งของต่างๆ
ตัวอย่างเช่น
การบอกจำนวนสิ่งของต่างๆแทนตัวเลข
กลุ่มที่ 2 นำเสนอเรื่อง การวัด
=>เราสอนเด็กโดยการวัด คือ การหาคำตอบเกี่ยวกับ เวลา ระยะทาง น้ำหนักด้วยการจับเวลา การวัดระยะทาง การชั่งน้ำหนักหรือการตวง ซึ่งมีหน่วยที่แน่นอน
"แต่การสอนเรื่องการวัดให้กับเด็กอนุบาล การวัดจะไม่มีหน่วย"
ตัวอย่าง
การวัดและบอกความยาวของสิ่งต่างๆรอบตัวได้

เช่น วัดความสูงโดยการใช้ตุ๊กตา
=>เราสามารถสอนเด็กเรียนรู้ในเรื่องเรขาคณิต คือการบอกรูปร่างรูปทรง การจำแนก การบอกตำแหน่ง ทิศทาง และระยะทาง
- บอกตำแหน่งทิศทางและระยะทาง ของสิ่งต่างๆได้ เช่น ดวงดาวอยู่บนท้องฟ้า พื้นดินอยู่ด้านล่าง ข้างในห้องเรียน ข้างนอกห้องเรียน ข้างหน้า ข้างหลัง ซ้ายมือ ขวามือ ส่วนระยะทาง เด็กอาจบอกว่าจากบ้านหนูไปถึงร้านค้าห่างกัน 3 หลัง
- รู้จักจำแนกของรูปเรขาคณิต ที่เด็กๆที่เห็นที่เหมือนหรือคล้าย ทรงกลม ทรงกระบอก สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงรี ได้โดยเด็กแต่ละคนอาจจะตอบไม่เหมือนกันเกิดจากความรู้เดิมของเด็กและประสบการณ์ของเด็กที่แตกต่างกัน
ตัวอย่างเช่น
พีชคณิตสำหรับเด็กปฐมวัย คือ รูปแบบ และความสัมพันธ์ในรูปแบบที่มีรูปร่างขนาด หรือสีที่ สัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่ง
ตัวอย่างเช่น => ให้เด็กๆลากเส้นจับคู่ภาพที่มีความสัมพันธ์กัน
กลุ่มที่ 5 นำเสนอเรื่อง วิเคาระห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
=>เราสามารถสอนเด็กในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการเปรียบเทียบ การจำเเนก หรือการสุ่ม เป็นต้น
ตัวอย่างเช่น
ตัวอย่างเช่น
การสุ่มหยิบลูกปิงปอง

ความรู้ที่ได้รับ และการนำไปประยุกต์ใช้
การจัดการรียนการสอนด้านคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยครูควรจัดกิจกรรมหรือจัดมุมเสริมประสบการณ์ต่างๆ ซึ่งเด็กจะเรียนรู้จากการเล่น การที่เด็กได้มีประสบการณ์ ได้ปฏิบัติ และสัมผัสจริง เช่นการนับเลข การนับสิ่งของที่เป็นของจริง จับต้องได้ สัมผัสได้ การวัดสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัว ซึ่งจะไม่มีหน่วยมาตรฐาน การจำแนก การเปรียบเทียบ รูปร่างรูปทรง เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ และมีทักษะที่ดีทางด้านพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น